2019
DOI: 10.1002/col.22403
|View full text |Cite
|
Sign up to set email alerts
|

Effect of color temperature on appearance of paintings exhibited under LED lighting

Abstract: Colour of light modulates the appearance of displayed artifacts in exhibition.To understand the effect of light on appearance of paintings, few studies have experimented to establish a relation between pleasantness with the correlated colour temperature (CCT) of light. However, some studies have found that CCT has no significant effect on pleasant appearance of painting. Therefore, in this article, an experiment with a qualitative (questionnaire on semantic differential scale, N = 30) approach was designed to … Show more

Help me understand this report

Search citation statements

Order By: Relevance

Paper Sections

Select...
1
1
1

Citation Types

0
2
0
2

Year Published

2020
2020
2024
2024

Publication Types

Select...
6
2

Relationship

0
8

Authors

Journals

citations
Cited by 9 publications
(4 citation statements)
references
References 15 publications
(36 reference statements)
0
2
0
2
Order By: Relevance
“…Subjects scored 12 opposite pairs of factors, describing their subjective impressions of the experimental materials in different lighting conditions. The selection of these factors was based on scales used in previous research to understand visitors' impressions toward visual objects (Zhai et al, 2015;Bhattacharjee and Pal, 2019). 12 pairs of words in the Semantic Differential Scale (SD1-SD12)…”
Section: Questionnairementioning
confidence: 99%
“…Subjects scored 12 opposite pairs of factors, describing their subjective impressions of the experimental materials in different lighting conditions. The selection of these factors was based on scales used in previous research to understand visitors' impressions toward visual objects (Zhai et al, 2015;Bhattacharjee and Pal, 2019). 12 pairs of words in the Semantic Differential Scale (SD1-SD12)…”
Section: Questionnairementioning
confidence: 99%
“…The gallery's lighting also affects the audience's emotions and impressions of the artwork. Although the appreciation of works of art is a complex experience process, the CCT of lighting will significantly affect the affective impressions of people and works [10][11][12]. In actual museums, the study has found that high illuminance and high CCT have a higher psychological evaluation [13].…”
Section: Introductionmentioning
confidence: 99%
“…2) สี หม่ นหมอง-สี สดใส เพื ่ อวั ดระดั บการรั บรู ้ ความมี สี สั น (Bhattacharjee & Pal, 2019;Chen et al, 2015;Feltrin et al, 2020;Zhai et al, 2015) 3) ไม่ ชั ดเจน-ชั ดเจน เพื ่ อวั ดระดั บความชั ดเจนในการมองเห็ นรายละเอี ยดของภาพ (Bhattacharjee & Pal, 2019;Chen et al, 2015;Chen et al, 2019;Leccese et al, 2020)…”
Section: การจำแนกวั ตถุ ตามประเภทของวั ตถุunclassified
“…พื ้ นผิ วเรี ยบแบน-พื ้ นผิ วมี มิ ติ เพื ่ อวั ดระดั บการรั บรู ้ ความมี มิ ติ ของพื ้ นผิ ว (จรั สพร ชุ มศรี , สั มภาษณ์ , 1 ตุ ลาคม 2564; อาศิ รา จรรยาวิ ศุ ทธ, 2563) 5) ไม่ สบายตา-สบายตา เพื ่ อวั ดระดั บความสบายตา(Bhattacharjee & Pal, 2019; Chen et al, 2015;Chen et al, 2019;Leccese et al, 2020;Rockcastle et al, 2021;Zhai et al, 2015) 6) ไม่ พอใจ-พอใจ เพื ่ อวั ดระดั บความพึ งพอใจในการจั ดแสดง(Bhattacharjee & Pal, 2019; Chen et al, 2015;Chen et al, 2019;Feltrin et al, 2020;Leccese et al, 2020;Zhai et al, 2015) โดยใช้วิ ธี การให้ คะแนนเป็ นมาตราช่ วง 6 ระดั บ ตั ้ งแต่ 1-6 (1 = มากที ่ สุ ด / 2 = มาก / 3 = ค่ อนข้ าง / 4 = ค่ อนข้ าง / 5 = มาก / 6 = มากที ่ สุ ด) แสดงตั วอย่ างการแทนความหมาย ดั งภาพที ่ 3.12 และมี ลั กษณะของแบบสอบถามคู ่ คำที ่ ใช้ ในงานวิ จั ย ดั งตารางที ่ 3.5 ภาพที ่ 3.12 ตั วอย่ างการแทนความหมายแต่ ละระดั บคะแนนของแบบสอบถาม ตารางที ่ 3.5 แบบสอบถามคู ่ คำที ่ ใช้ ในงานวิ จั ย ในกรณี ที ่ กลุ ่ มตั วอย่ างกรอกข้ อมู ลส่ วนใดส่ วนหนึ ่ งขาดหายไปหรื อประเมิ นแบบสอบถามตก หล่ นแม้ เพี ยงข้ อเดี ยว ผลของแบบสอบถามชุ ดนั ้ นจะไม่ ถู กนำมาวิ เคราะห์ เพื ่ อประเมิ นผล และผู ้ วิ จั ยจะ ทำการหาผู ้ ร่ วมการวิ จั ยใหม่ จนครบตามจำนวนกลุ ่ มตั วอย่ างที ่ ระบุ ไว้ ข้ างต้ น 3.3.9 การพิ ทั กษ์ สิ ทธิ ป้ องกั นความเสี ่ ยงและรั กษาความลั บ เนื ่ องจากการวิ จั ยนี ้ เป็ นงานวิ จั ยที ่ ทดลองข้ องเกี ่ ยวกั บคน จึ งต้ องขอรั บรองจริ ยธรรมการวิ จั ย ในคน (ภาคผนวก ก) ก่ อนทำการทดลอง และเพื ่ อเป็ นการป้ องกั นความเสี ่ ยงที ่ จะเกิ ดกั บผู ้ ร่ วมการวิ จั ย ในกระบวนการทดลองที ่ มี การใช้ สายตาเพื ่ อทดสอบการรั บรู ้ จึ งมี การให้ ผู ้ ร่ วมการวิ จั ยได้ ปรั บตาสาย เมื ่ อเข้ าห้ องทดลองประมาณ 2-3 นาที และระหว่ างการทดสอบจะมี การพั กสายตาเป็ นระยะ ๆ ด้ วย การหลั บตาอย่ างน้ อย 20 วิ นาที ซึ ่ งการทดสอบมี สภาวะแสงทั ้ งสิ ้ น 18 สภาวะ ผู ้ ร่ วมการวิ จั ยจะได้ พั ก สายตาประมาณ 20 วิ นาที ทุ กครั ้ งที ่ มี การเปลี ่ ยนสภาวะแสง และพั กสายตาประมาณ 10 นาที ก่ อน เริ ่ มการทดลองในส่ วนต่ อไป อย่ างไรก็ ตามหากผู ้ เข้ าร่ วมวิ จั ยได้ รั บผลกระทบต่ อการใช้ สายตา เช่ น มี อาการไม่ สบายตาหรื อแสบตา แม้ ว่ าจะทำการพั กสายตาด้ วยการหลั บตาแล้ วยั งไม่ ดี ขึ ้ น ผู ้ วิ จั ยได้ จั ดเตรี ยมอุ ปกรณ์ ปฐมพยาบาลเบื ้ องต้ น ได้ แก่ น้ ำยาหยอดตาหรื อน้ ำตาเที ยม เพื ่ อใช้ บรรเทาอาการ ดั งกล่ าว หรื อหากผู ้ ร่ วมการวิ จั ยเกิ ดความไม่ สบายใจหรื ออึ ดอั ดในขณะทดสอบ สามารถยกเลิ กการเข้ า ร่ วมการทดสอบโดยไม่ ต้ องแจ้ งเหตุ ผลแก่ ผู ้ ทำวิ จั ย การทดสอบใช้ แบบสอบถามที ่ ไม่ ระบุ ชื ่ อผู ้ ตอบและไม่ มี การเก็ บข้ อมู ลที ่ ระบุ ตั วตนของผู ้ ร่ วม การวิ จั ย ข้ อมู ลในแบบสอบถามและคำตอบทั ้ งหมดจะถู กปิ ดเป็ นความลั บ ข้ อมู ลที ่ ได้ รั บมา จะถู ก นำมาใช้ ในการวิ เคราะห์ สำหรั บการศึ กษาครั ้ งนี ้ เท่ านั ้ น ไม่ มี การเปิ ดเผยหรื อเผยแพร่ ข้ อมู ลสู ่ สาธารณะ เพื ่ อไม่ ให้ มี ผลกระทบต่ อผู ้ เข้ าร่ วมการทดสอบ เกิ ดความไม่ สบายใจ และจะทำลายข้ อมู ลเอกสาร หลั งจากเสร็ จสิ ้ นการศึ กษา 3.4 ขั ้ นตอนการทดลอง ก่ อนทำการเก็ บข้ อมู ลผู ้ วิ จั ยจะชี ้ แจงวั ตถุ ประสงค์ และขั ้ นตอนในการทดลองให้ ผู ้ เข้ าร่ วมวิ จั ย ทราบ โดยในการทดลองผู ้ เข้ าร่ วมวิ จั ยใช้ ระยะเวลาในการเข้ าร่ วมสั งเกตภาพจิ ตรกรรมและตอบ แบบสอบถาม ประมาณ 1-1.30 ชม. โดยมี การเปลี ่ ยนสภาวะแสงทั ้ งสิ ้ น 18 สภาวะ ดั งตารางที ่ 3.2-ตารางที ่ 3.3 มี ลำดั บการรั บชมแบบสุ ่ มเพื ่ อลดปั จจั ยความคลาดเคลื ่ อนและความลำเอี ยง มี ขั ้ นตอน การทดลอง ดั งภาพที ่ 3....…”
unclassified