2019
DOI: 10.1183/13993003.01613-2019
|View full text |Cite
|
Sign up to set email alerts
|

Identifying the at risk smokers: who goes on to get COPD?

Abstract: Radiological measures of gas trapping, in particular due to small airways disease, may aid identification of smokers at risk of progression to COPD. Further research is needed on how to bring gas trapping measurement into routine clinical practice.

Help me understand this report

Search citation statements

Order By: Relevance

Paper Sections

Select...
1
1

Citation Types

0
1
0
1

Year Published

2024
2024
2024
2024

Publication Types

Select...
1
1

Relationship

0
2

Authors

Journals

citations
Cited by 2 publications
(2 citation statements)
references
References 22 publications
0
1
0
1
Order By: Relevance
“… 1 , 2 Tobacco inhalation directly injured the human normal lung epithelial cells (BEAS-2B). 3 However, no treatment can completely reverse tobacco-related lung injury. 2 , 4 Therefore, studying the potential pathophysiology of cigarette smoke extract (CSE) induced BEAS-2B cells injury and revealing the exact underlying mechanisms are quite necessary.…”
Section: Introductionmentioning
confidence: 99%
“… 1 , 2 Tobacco inhalation directly injured the human normal lung epithelial cells (BEAS-2B). 3 However, no treatment can completely reverse tobacco-related lung injury. 2 , 4 Therefore, studying the potential pathophysiology of cigarette smoke extract (CSE) induced BEAS-2B cells injury and revealing the exact underlying mechanisms are quite necessary.…”
Section: Introductionmentioning
confidence: 99%
“…Adult and Gerontological Nursing พยาธิ สภาพของโรคนั บเป็ นปั จจั ยพื ้ นฐานที ่ ทำให้ ผู ้ ป่ วยโรคนี ้ มี อาการหายใจลำบาก แต่ ยั งมี ปั จจั ยอื ่ นๆ ที ่ มี ความสั มพั นธ์ กั บอาการหายใจลำบาก เช่ น ความรู ้ เกี ่ ยวกั บการจั ดการตนเอง และการ จั ดการอาการ (Disler et al, 2012;Jordan et al, 2015) ซึ ่ งต้ องสามารถจั ดการกั บภาวะต่ าง ๆ ด้ วยตนเองได้ ทุ กวั น รวมทั ้ งการทำความเข้ าใจในเรื ่ องของการใช้ ยาอย่ างเหมาะสม เทคนิ คการสู ดพ่ นที ่ ดี ส่ วนใหญ่ ยั งพบว่ า 2 ใน 3 ของผู ้ ป่ วยโรคนี ้ ที ่ พ่ นยาไม่ ถู กต้ อง ในขั ้ นตอน "การหายใจออกให้ สุ ด" (บุ ญชรั สมิ ์ ธั นธิ ติ ธนากุ ล และนรลั กขณ์ เอื ้ อกิ จ, 2560) รวมถึ งการจั ดการ และการผ่ อนคลาย ความเครี ยด ความวิ ตกกั งวล พบว่ าผู ้ สู งอายุ โรคนี ้ มี ความวิ ตกกั งวล ร้ อยละ 50-70 (Long et al, 2020) และการฟื ้ นฟู สมรรถภาพปอด เทคนิ คการหายใจอย่ างมี ประสิ ทธิ ภาพ ซึ ่ งเป็ นการดู แลรั กษา เพิ ่ มเติ มที ่ ควรจะได้ รั บ รวมไปถึ งการออกกำลั งกาย ซึ ่ งจากการศึ กษาพบว่ าผู ้ ป่ วยโรคนี ้ มี พฤติ กรรมการ ออกกำลั งกายในระดั บปานกลาง (พนาวรรณ บุ ญพิ มล, 2558) และการรั บประทานอาหารให้ เหมาะสมกั บโรคโดยการหลี กเลี ่ ยงอาหารที ่ ทำให้ เกิ ดก๊ าซในทางเดิ นอาหาร เป็ นผลทำให้ เกิ ดอาการ ท้ องอื ดได้ อี กทั ้ งปั จจั ยการสู บบุ หรี ่ ซึ ่ งยั งพบได้ ในผู ้ ป่ วยโรคนี ้ จากรายงานการสำรวจสุ ขภาพของประชาชนโดยการตรวจร่ างกาย ครั ้ งที ่ 6 พ.ศ. 2562-2563 ระบุ ว่ า ในผู ้ ป่ วยโรคปอดอุ ดกั ้ นเรื ้ อรั งยั งสู บบุ หรี ่ เป็ นประจำ คื อสู บทุ กวั น พบเพศชายมากกว่ า เพศหญิ งร้ อยละ 32.6 และ 13.2 ตามลำดั บ และโดยรวมคิ ดเป็ นร้ อยละ 28.6 (วิ ชั ย เอกพลากร และ คณะ, 2564) สอดคล้ องกั บงานวิ จั ยในอดี ต ซึ ่ งรายงานว่ า ผู ้ ป่ วยโรคปอดอุ ดกั ้ นเรื ้ อรั งยั งคงสู บบุ หรี ่ (อุ ทั ยชนิ นทร์ จั นทร์ แก้ ว และจิ ราพร เกศพิ ชญวั ฒนา, 2563; ธาดา วิ นทะไชย และนรลั กขณ์ เอื ้ อกิ จ, 2563; นุ ชรั ตน์ จั นทโร และคณะ, 2561; Wang et al, 2017;Marshall, 2016) โดยพบได้ ตั ้ งแต่ ร้ อย ละ 10-40 การสู บบุ หรี ่ ถื อเป็ นปั จจั ยเสี ่ ยงหลั กของโรคปอดอุ ดกั ้ นเรื ้ อรั ง และยั งเป็ นปั จจั ยที ่ มี ความสั มพั นธ์ กั บเกิ ดอาการหายใจลำบาก (Madan & Turner, 2019;Zhou et al, 2020;Pezzuto & Carico, 2020) รวมไปถึ งควั นบุ หรี ่ มื อสอง จากการศึ กษาความสั มพั นธ์ ระหว่ างการสู บบุ หรี ่ และการ ลดลงของค่ า Forced Expiratory Volume in one second; FEV 1 พบว่ าการสู บบุ หรี ่ ไม่ สามารถทำ ให้ ค่ า FEV 1 กลั บสู ่ ระดั บพื ้ นฐานเดิ มของผู ้ ป่ วยโรคนี ้ ได้ (Yiasrakun & Poolpol, 2020;Zhou et al, 2020) (Slev et al, 2017) รวมทั ้ งผู ้ ป่ วยโรคปอดอุ ดกั ้ นเรื ้ อรั ง พบว่ าผู ้ ป่ วยที ่ เข้ าร่ วมโปรแกรมมี ความสามารถในจั ดการอาการดี ขึ ้ นและอาการหายใจลำบากลดลง ในช่ วง 8 สั ปดาห์ (นุ ชรั ตน์ จั นทโร และคณะ, 2561) ในทำนองเดี ยวกั น มี งานวิ จั ยในสหราช อาณาจั กรรายงานว่ า โปรแกรมการสนั บสนุ นการจั ดการตนเองตามแนวคิ ดของ Glasgow และคณะ สามารถช่ วยลดจำนวนการเข้ ารั กษาในโรงพยาบาลในผู ้ ป่ วยโรคปอดอุ ดกั ้ นเรื ้ อรั งได้ (Bucknall et al, 2012) ผู ้ วิ จั ยจึ งสนใจที ่ จะพั ฒนาโปรแกรมการพยาบาลสนั บสนุ นการจั ดการตนเองสำหรั บผู ้ ป่ วยโรค ปอดอุ ดกั ้ นเรื ้ อรั ง โดยใช้ แนวคิ ดสนั บสนุ นการจั ดการตนเอง (Glasgow et al, 2003)…”
Section: Field Of Studyunclassified