2015
DOI: 10.1016/j.apunts.2015.02.002
|View full text |Cite
|
Sign up to set email alerts
|

Effects of a 6-week neuromuscular ankle training program on the Star Excursion Balance Test for basketball players

Abstract: Background: The largest percentage of injuries in basketball affect the lower limbs, specially the ankle joint, and this is the major cause of missed days of training during a season. Moreover, ankle injuries can increase the risk factor of recurrent injuries. Objectives: To determine whether a training program, based on specific ankle exercises for basketball, causes a change in the dynamic stability of a healthy group of basketball players, using the Star Excursion Balance Test (SEBT). Also, to determine the… Show more

Help me understand this report

Search citation statements

Order By: Relevance

Paper Sections

Select...
1

Citation Types

0
2
1
6

Year Published

2021
2021
2024
2024

Publication Types

Select...
3
2

Relationship

0
5

Authors

Journals

citations
Cited by 6 publications
(9 citation statements)
references
References 33 publications
(47 reference statements)
0
2
1
6
Order By: Relevance
“…จากไคโคนี น แคนนู ส และคณะ (Kaikkonen, Kannus, & Järvinen, 1994) (Czajka et al, 2014;Kaikkonen et al, 1994;Lynch, 2002) (Röijezon et al, 2015;Testerman & Griend, 1999) ระบบโพรพริ โอเซ็ ฟชั ่ น ประกอบด้ วยระบบประสาทส่ วนปลาย (Peripheral nervous system) และระบบประสาทส่ วนกลาง (Central nervous system) (Röijezon et al, 2015 (Han et al, 2015;Tropp et al, 1983) ดั งนั ้ นระบบโพรพริ โอเซ็ ฟที ฟจึ งเป็ นตั วที ่ มี บทบาทส าคั ญในการควบคุ มการทรงตั ว โดยเฉพาะ โพรพริ โอเซ็ ฟที ฟที ่ ข้ อเท้ า (Han et al, 2015) (Bastien et al, 2014;Borao et al, 2015;Gabriner et al, 2015; (Bastien et al, 2014;Borao et al, 2015) 1…”
Section: เกณฑ์ การจั ดล าดั บขั ้ นความรุ นแรงของการเกิ ดข้ อเท้ าแพลงunclassified
See 3 more Smart Citations
“…จากไคโคนี น แคนนู ส และคณะ (Kaikkonen, Kannus, & Järvinen, 1994) (Czajka et al, 2014;Kaikkonen et al, 1994;Lynch, 2002) (Röijezon et al, 2015;Testerman & Griend, 1999) ระบบโพรพริ โอเซ็ ฟชั ่ น ประกอบด้ วยระบบประสาทส่ วนปลาย (Peripheral nervous system) และระบบประสาทส่ วนกลาง (Central nervous system) (Röijezon et al, 2015 (Han et al, 2015;Tropp et al, 1983) ดั งนั ้ นระบบโพรพริ โอเซ็ ฟที ฟจึ งเป็ นตั วที ่ มี บทบาทส าคั ญในการควบคุ มการทรงตั ว โดยเฉพาะ โพรพริ โอเซ็ ฟที ฟที ่ ข้ อเท้ า (Han et al, 2015) (Bastien et al, 2014;Borao et al, 2015;Gabriner et al, 2015; (Bastien et al, 2014;Borao et al, 2015) 1…”
Section: เกณฑ์ การจั ดล าดั บขั ้ นความรุ นแรงของการเกิ ดข้ อเท้ าแพลงunclassified
“…กลไกการเกิ ดข้ อเท้ าแพลงเป็ นผลมาจากการเกิ ดความเสี ยหายต่ อโครงสร้ างของข้ อเท้ า ทางด้ านนอก (Lateral ligament complex) พบการบาดเจ็ บสู งถึ ง 85% ของการเกิ ดข้ อเท้ าแพลง ทั ้ งหมด (Czajka et al, 2014;Holmes & Delahunt, 2009;Mettler, Chinn, Saliba, McKeon, & Hertel, 2015) โดยโครงสร้ างของข้ อเท้ าทางด้ านนอก (Lateral ligament complex) จะ ประกอบด้ วย เอ็ นที ่ ยึ ดระหว่ างกระดู กทาลั ส (Talus) กั บกระดู กฟิ บู ลา (Fibula) คื อเอ็ นทาโลฟิ บู ลา ทางด้ านหน้ า (Anterior talofibular ligament) เอ็ นที ่ ยึ ดระหว่ างกระดู กแคลคาเนี ยส (Calcaneus) กั บกระดู กฟิ บู ลา (Fibula) คื อเอ็ นแคลคานี โอฟิ บู ลา (Calcaneofibular ligament) และเอ็ นที ่ ยึ ด ระหว่ างกระดู กทาลั ส (Talus) กั บกระดู ก (Fibula) คื อเอ็ นทาโลฟิ บู ลาทางด้ านหลั ง (Posterior talofibular ligament) โดยที ่ เอ็ นทาโลฟิ บู ลาทางด้ านหน้ า (Anterior talofibular ligament) พบ การบาดเจ็ บมากที ่ สุ ด และตามด้ วย เอ็ นแคลคานี โอฟิ บู ลา (Calcaneofibular ligament) (Chan, Ding, & Mroczek, 2011;Czajka et al, 2014;Kaminski et al, 2013) สาเหตุ ของการเกิ ดข้ อเท้ า แพลงนั ้ นเป็ นผลมาจากการที ่ ฝ่ าเท้ าหมุ นเข้ าด้ านใน (Forefoot adduction) ส้ นเท้ าบิ ดหมุ นเข้ า ทางด้ านใน (Hindfoot internal rotation) เกิ ดแรงเครี ยดในท่ าถี บปลายเท้ าลง (Plantar flexion) ที ่ มากเกิ นไปร่ วมกั บการบิ ดหมุ นของข้ อเท้ า (inversion) และขาเกิ ดการบิ ดหมุ นออกทางด้ านนอก (External rotation) ที ่ มากเกิ นมุ มการเคลื ่ อนไหวของร่ างกาย ท าให้ จุ ดศู นย์ ถ่ วงของร่ างกายเลื ่ อน ออกมามากเกิ นข้ อเท้ า เกิ ดความเสี ยหายต่ อโครงสร้ างเอ็ นของเท้ าทางด้ านนอก (Lateral ligament complex) ( Borao, Planas, Beltran, & Corbi, 2015;Chan et al , 2011;Clark et al , 2005;Martin et al, 2013) รวมไปถึ งอาจจะเกิ ดการบาดเจ็ บต่ อโครงสร้ างอื ่ น ๆ ร่ วมด้ วย เช่ น กล้ ามเนื ้ อพี โรเนี ยล (Peroneal muscle) เอ็ นพี โรเนี ยล (Peroneal tendon) เส้ นประสาทพี โรเนี ยลชั ้ นตื ้ น (Superficial peroneal nerve) และตั วรั บความรู ้ สึ กโพรพริ โอเซ็ ฟเตอร์ ของข้ อเท้ า (Ankle joint proprioceptors) เป็ นต้ น (Gutierrez, Kaminski, & Douex, 2009) สาเหตุ ของการบาดเจ็ บนี ้ จะเกิ ดขึ ้ นเมื ่ อก าลั งลงสู ่ พื ้ นจากท่ า การกระโดด ท าให้ เกิ ดข้ อเท้ าแพลงทางด้ านนอก (Lateral ankle sprain) เกิ ดการฉี กขาดของ โครงสร้ างเอ็ นของข้ อเท้ าทางด้ านนอก (Lateral ankle ligament) เพี ยงบางส่ วนหรื อ อาจจะเกิ ด การฉี กขาดทั ้ งหมด (Borao et al, 2015;Martin et al, 2013) โดยอุ บั ติ การณ์ การเกิ ดข้ อเท้ าแพลง ส่ วนใหญ่ มั กพบในวั ยรุ ่ นที ่ มี ช่ วงอายุ 15 -19 ปี (Czajka et al, 2014;Martin et al, 2013) ปี 1998 -2004 ( Boccolini, Brazzit, Bonfanti, & Alberti, 2013;Hoffman, 2008) ค ร อ บ ค ลุ ม ระยะทางประมาณ 3,500 -5,000 เมตร (Atl, Köklü, Alemdaroglu, & Koçak, 2013;…”
unclassified
See 2 more Smart Citations
“…เพื ่ อเพิ ่ มความคล่ องตั ว 3) เพื ่ อฝึ กฝนพั ฒนามวลกล้ ามเนื ้ อ 4) เพื ่ อประเมิ นการควบคุ มกล้ ามเนื ้ อการทรงตั วแบ่ งออกเป็ น 2ลั กษณะทั ้ งพื ้ นผิ วแบบมั ่ นคงและ ไม่ มั ่ นคง 5) ประเมิ นความเสี ่ ยงหรื อการพลั ดตกหกล้ ม ในกลุ ่ มผู ้ ป่ วยสู งอายุ หรื อผู ้ ป่ วยหลั งผ่ าตั ด 6) ประเมิ นเรื ่ องการลงน้ าหนั กส าหรั บผู ้ ป่ วยหลั งผ่ าตั ด รู ปที ่ 2 เครื ่ อง Biodex Balance System รู ปที ่ 3 พื ้ นโฟมส าหรั บการทดสอบของเครื ่ อง Biodex Balance System 2. Star Excursion Balance Test (SEBT) สตาร์ เอ็ คเคอชั ่ นบาลานเทส เป็ นแบบทดสอบแบบไดนามิ คที ่ ต้ องใช้ ความแข็ งแรงความยื ดหยุ ่ นและ proprioception เป็ นการ วั ดความสมดุ ลแบบไดนามิ คที ่ ส าคั ญส าหรั บนั กกี ฬาและบุ คคลที ่ มี ความตื ่ นตั วทางร่ างกาย การทดสอบ นี ้ สามารถใช้ ในการประเมิ นสมรรถภาพทางกาย และยั งสามารถใช้ ในการควบคุ มการทรงตั วแบบไดนา มิ ค เนื ่ องจากการบาดเจ็ บของกล้ ามเนื ้ อและกระดู ก (เช่ นความไม่ เสถี ยรของข้ อเท้ าเรื ้ อรั ง) เพื ่ อระบุ นั กกี ฬาที ่ มี ความเสี ่ ยงต่ อการบาดเจ็ บที ่ ศี รษะต่ า ลงมา รวมทั ้ งในระหว่ างการฟื ้ นฟู สมรรถภาพ ของ การบาดเจ็ บศั ลยกรรมกระดู กในผู ้ ใหญ่ ที ่ มี สุ ขภาพแข็ งแรง นอกจากนี ้ ยั งสามารถใช้ SEBT เพื ่ อ เปรี ยบเที ยบความสามารถในการทรงตั วระหว่ างกี ฬาต่ าง ๆ และเพื ่ อประเมิ นสมรรถภาพทางกาย การ วิ จั ยได้ เสนอแนะให้ ใช้ การทดสอบนี ้ เป็ นเครื ่ องมื อในการคั ดกรองการมี ส่ วนร่ วมในการเล่ นกี ฬารวมทั ้ ง การทดสอบหลั งการฟื ้ นฟู เพื ่ อให้ เกิ ดสมมาตรในการท างานแบบไดนามิ ค นอกจากนี ้ ยั งแสดงให้ เห็ นว่ า ประสิ ทธิ ภาพของ SEBT ดี ขึ ้ นหลั งจากการฝึ ก (Lowe, 2011) Star excursion balance test (สตาร์ เอ็ คเคอชั ่ นบาลานเทส) เป็ นการทดสอบที ่ มี ความเฉพาะเป็ นมาตราวั ดที ่ อยู ่ ในเกณฑ์ ที ่ ดี โดยมี ค่ าความเที ่ ยงตรงภายใน ผู ้ ประเมิ น (Interrater reliability) และค่ าความเที ่ ยงตรงระหว่ างผู ้ ประเมิ น (Interrater reliability) อยู ่ ในระดั บดี มากถึ งยอดเยี ่ ยม มี ช่ วงความเชื ่ อมั ่ นอยู ่ ระหว่ าง 0.84 -0.92 มี ค่ าสถิ ติ ที ่ ใช้ (Intra class correlation coefficient:ICC) อยู ่ ในช่ วง 0.83 -0.94 ผลวิ เคราะห์ ของสั มประสิ ทธิ ์ แอลฟาของครอ นบาค (Cronbach alpha) = 0.803 (Bastien et al, 2014) (Boraoa, Planas, Beltran, & Corbi, 2015) (Gabrien, Houston, Kirby, & Hoch, 2015) จากค่ าดั งกล่ าวแสดงให้ เห็ นว่ าสตาร์ เอ็ คเคอชั ่ น บานลานเทส (Star excursion balance test) มี ความน่ าเชื ่ อถื อ และความถู กต้ องเที ่ ยงตรงอย่ างมาก เนื ่ องจากสตาร์ เอ็ คเคอชั ่ นบานลานเทส (Star excursion balance test) ที ่ มุ ่ งเน้ นการตรวจสอบ ประสิ ทธิ ภาพการควบคุ มการท างานของกล้ ามเนื ้ อ (Motor control) ดั งนั ้ นการทดสอบสตาร์ เอ็ ค เคอชั ่ นบานลานเทส (Star excursion balance test) จึ งเป็ นที ่ นิ ยมใช้ กั นอย่ างแพร่ หลายทั ้ งใน งานวิ จั ย และประยุ กต์ ใช้ ในคลิ นิ ก (Bastien et al, 2014) (Boraoa et al, 2015) (Gabrien et al, 2015) Gribble (P. A. Gribble, Hertel, & Plisky, 2012) เนื ่ องจากสามารถตรวจประเมิ นถึ งความ เปลี ่ ยนแปลงภายหลั งได้ รั บการทดลอง (Intervention) ในผู ้ เข้ าร่ วมการทดสอบได้ พร้ อมทั ้ งยั งเป็ น การทดสอบที ่ สารมารถท าได้ ง่ าย รวดเร็ ว และมี ความถู กต้ องแม่ นย า นอกจากนี ้ สตาร์ เอ็ คเคอชั ่ นบาน ลานเทส (Star excursion balance test) ยั งมี ประโยชน์ อย่ างมากเพื ่ อดู การตอบสนองต่ อโปรแกรม ฟื ้ นฟู ร่ างกายภายหลั งจากการบาดเจ็ บและใช้ เพื ่ อคาดการณ์ ถึ งปั จจั ยเสี ่ ยงต่ อการบาดเจ็ บของนั กกี ฬา ได้ ในอนาคต เนื ่ องจากสามารถบ่ งบอกถึ งระดั บความแตกต่ างของการควบคุ มการทรงตั วทางแบบมี การเคลื ่ อนที ่ ของจุ ดศู นย์ ถ่ วงของร่ างกาย เคลื ่ อนที ่ ออกนอกพื ้ นที ่ ฐานรองรั บร่ างกาย(Bastien et al, 2014) (Boraoa et al, 2015 (Gabrien et al, 2015) Gribble (P A. Gribble et al, 2012).…”
unclassified