2019
DOI: 10.4103/1735-3327.261130
|View full text |Cite
|
Sign up to set email alerts
|

Bleaching during orthodontic treatment and its effect on bracket bond strength

Help me understand this report

Search citation statements

Order By: Relevance

Paper Sections

Select...
4

Citation Types

1
16
1
9

Year Published

2022
2022
2024
2024

Publication Types

Select...
4
2
1

Relationship

0
7

Authors

Journals

citations
Cited by 11 publications
(28 citation statements)
references
References 23 publications
1
16
1
9
Order By: Relevance
“…In contrast, a previous study in which a 35% HP gel was applied three times at 1-week intervals demonstrated a decrease in the bond strength when compared to the non-whitening control group [25].…”
Section: Discussioncontrasting
confidence: 77%
See 3 more Smart Citations
“…In contrast, a previous study in which a 35% HP gel was applied three times at 1-week intervals demonstrated a decrease in the bond strength when compared to the non-whitening control group [25].…”
Section: Discussioncontrasting
confidence: 77%
“…However, the results of this study demonstrated that all the groups had a greater frequency of score 1, indicating that < 50% of the adhesive remained on the enamel surface, or score 3, implying that all the adhesive remained on the tooth with a distinct impression of the bracket base. In particular, group HP 17.5 had a greater frequency of scores of 3, which indicate less damage to the enamel on subsequent removal [25,49].…”
Section: Discussionmentioning
confidence: 93%
See 2 more Smart Citations
“…การรั บรู ้ สุ นทรี ยศาสตร์ ของรอยยิ ้ มนั ้ น นอกจากสี ของฟั นแล้ ว การเรี ยงตั วที ่ ดี ของฟั นก็ เป็ น หนึ ่ งในปั จจั ยสํ าคั ญเช่ นกั น ทำให้ การฟอกสี ฟั นได้ รั บความนิ ยมในหมู ่ ผู ้ ป่ วยที ่ ได้ รั บการจั ดฟั นมากขึ ้ น (3,4) ซึ ่ งมี การวิ จั ยหนึ ่ งที ่ พบว่ า ร้ อยละ 88 ของผู ้ ป่ วยที ่ ได้ รั บการจั ดฟั น ต้ องการการฟอกสี ฟั นร่ วมด้ วย (5) และจากที ่ ระบุ ไว้ ในการศึ กษาของ Krug และ Green พบว่ า อั ตราความพึ งพอใจของผู ้ ป่ วยจะเพิ ่ มขึ ้ น กว่ าร้ อยละ 90 หากได้ รั บการฟอกสี ฟั นร่ วมกั บการรั กษาทางทั นตกรรมจั ดฟั น (6) บ่ อยครั ้ งที ่ ทั นตแพทย์ จั ดฟั นพบว่ าผู ้ ป่ วยรู ้ สึ กไม่ พอใจกั บลั กษณะสี ฟั นที ่ ปรากฏอยู ่ ขณะมี เครื ่ องมื อจั ดฟั นติ ดแน่ นภายในช่ องปาก ดั งนั ้ นการฟอกสี ฟั นในคลิ นิ กอาจกระตุ ้ นให้ ผู ้ ป่ วยมารั บการ รั กษาโดยสม่ ำเสมอ หรื อไม่ หยุ ดการรั กษากลางคั น ซึ ่ งการรั กษาโดยใช้ เครื ่ องมื อจั ดฟั นติ ดแน่ นนั ้ น การ ฟอกสี ฟั นสามารถทํ าได้ โดยที ่ ไม่ ทำให้ เกิ ดความเสี ยหายด้ านความสวยงามของฟั นและเครื ่ องมื อ (7) นอกเหนื อจากวั ตถุ ประสงค์ โดยทั ่ วไปแล้ ว การฟอกสี ฟั นยั งเป็ นสิ ่ งจํ าเป็ นในผู ้ ป่ วยที ่ มี การ เปลี ่ ยนสี ของฟั นจากเนื ้ อเยื ่ อในฟั นที ่ ตาย ส่ งผลให้ สู ญเสี ยความสวยงามในบริ เวณฟั นหน้ า อย่ างไรก็ ตาม มี การศึ กษาจํ านวนมากที ่ แสดงให้ เห็ นว่ า ความแข็ งแรงของพั นธะระหว่ างเรซิ นคอมโพสิ ตและ เคลื อบฟั นลดลงเมื ่ อฟั นถู กฟอกสี ฟั น ไม่ ว่ าจะทำที ่ คลิ นิ ก หรื อที ่ บ้ านก็ ตาม (8)(9)(10)(11)(12) ในส่ วนงานด้ านสาขาทั นตกรรมบู รณะ มี บางรายงานการวิ จั ยระบุ ว่ า พบการลดลงของความ แข็ งแรงของพั นธะของเคลื อบฟั น ภายหลั งการฟอกสี ฟั นในตั วฟั นด้ วยสารคาร์ บาไมด์ เปอร์ ออกไซด์ ใน ความเข้ มข้ นที ่ แตกต่ างกั น (13)(14)(15) (36) การฟอกสี ฟั นจะทำให้ เกิ ดการลดลงของปริ มาณแคลเซี ยมและฟอสเฟตบนผิ วเคลื อบฟั นและ ยั งเปลี ่ ยนแปลงสั ณฐานวิ ทยาของผลึ กชั ้ นบนสุ ดบนผิ วเคลื อบฟั น (24) รวมถึ งการกั ดผิ วเคลื อบฟั นที ่ ถู ก ฟอกสี ฟั นด้ วยกรดจะทํ าให้ เกิ ดการสู ญเสี ยรู ปแบบของปริ ซึ ม (Prismatic form) และลั กษณะผิ ว เคลื อบฟั นที ่ ได้ จะมี ลั กษณะเหมื อนผิ วเคลื อบฟั นที ่ ถู กกั ดผิ วฟั นมากเกิ นไป (Over-etch) (37) ซึ ่ งปั จจั ย เหล่ านี ้ ทำให้ ไม่ สามารถสร้ างพั นธะที ่ แข็ งแรงระหว่ างสารยึ ดติ ดและผิ วเคลื อบฟั นได้ เพื ่ อป้ องกั นผลข้ างเคี ยงจากการฟอกสี ที ่ ทำให้ ความแข็ งแรงของพั นธะลดลง ได้ มี การนำ วิ ธี การต่ าง ๆ มาใช้ เพื ่ อลดผลข้ างเคี ยงนี ้ เช่ น การกรอผิ วเคลื อบฟั นที ่ เต็ มไปด้ วยอนุ มู ลอิ สระออกซิ เจน (Reactive oxygen species; ROS) ของสารฟอกสี ฟั น หรื อใช้ สารยึ ดติ ดที ่ มี ตั วทํ าละลายอิ นทรี ย์ (11,12) อย่ างไรก็ ตามวิ ธี ที ่ ดี ที ่ สุ ดในการฟื ้ นฟู ความแข็ งแรงของพั นธะคื อการชะลอขั ้ นตอนการยึ ด ติ ด หลั งจากการฟอกสี เป็ นเวลาอย่ างน้ อย 7 ถึ ง 14 วั นเพื ่ อให้ เปอร์ ออกไซด์ ที ่ ตกค้ างในรู พรุ นของผิ ว เคลื อบฟั นสลายไปอย่ างสมบู รณ์ (8)…”
unclassified